หน้าแรก portfolio_Aj_worrapornpat

portfolio_Aj_worrapornpat

[vc_row][vc_column][vc_column_text css=”.vc_custom_1619151877716{background-color: #81d742 !important;}”]

อาจารย์(Lecturers)

[/vc_column_text][/vc_column][/vc_row][vc_row][vc_column width=”1/2″][vc_column_text]


Ajarn worrapornpat patpai
อาจารย์วรพรภัฏ ปัดภัย

[/vc_column_text][/vc_column][vc_column width=”1/2″][vc_column_text]ตำแหน่งปัจุบัน :
– ตำแหน่งทางบริหาร :
1.ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพการศึกษาและกิจการพิเศษ
2.รองหัวหน้าสำนักงานคณบดี
3.หัวหน้าพัสดุ

ตำแหน่งด้านอื่นๆ หัวหน้าฝ่ายทำนุบำรุงศิลปและวัฒนธรรมและหัวหน้าศิษย์เก่า

– อาจารย์ผู้สอน : อาจารย์ประจำหลักสูตร วท.บ.สัตวศาสตร์

คณะเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.
อีเมล์ : worrapornpat.p@srru.ac.th
โทรศัพท์ : 044-041505
มือถือ : 087-937-5620[/vc_column_text][/vc_column][/vc_row][vc_row][vc_column][td_block_text_with_title custom_title=”ประวัติการศึกษา”]

  • พ.ศ. 2558 ปริญญาโท วท.ม.เทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์
  • พ.ศ. 2554 ประกาศนียบัตรบัณฑิต  ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู
  • พ.ศ. 2552 ปริญญาตรี วท.บ.เกษตรศาสตร์ (เกียรตินิยมอันดับ 2 ) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

[/td_block_text_with_title][td_block_text_with_title custom_title=”ประสบการณ์ในการสอน”]- หลักการประมง
– การผลิตสัตว์น้ำจืดในโรงเรียน
– การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในโรงเรียน
– การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด
– หลักการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
– การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์จากสัตว์และสัตว์น้ำ
– การจัดการฟาร์มสัตว์น้ำและการวิเคราะห์คุณภาพน้ำ
– การจัดการผลพลอยได้และของเสียในระบบการเกษตร
– ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง[/td_block_text_with_title][td_block_text_with_title custom_title=”ประสบการณ์ในการทำงาน”]ตั้งแต่ พ.ศ.2558 – ปัจจุบัน[/td_block_text_with_title][td_block_text_with_title custom_title=”งานวิจัยและสิ่งพิมพ์เผยแพร่”]

  • เอกลักษณ์ สีใส และวรพรภัฏ ปัดภัย. (2559). การใช้กากมะพร้าวเป็นส่วนผสมในอาหารสำหรับเลี้ยงกบนาในกล่องพลาสติก. การประชุมวิชาการระดับชาติ ราชมงคลสุรินทร์วิชาการ 2016 ครั้งที่ 8 . วิจัยเพื่อประเทศไทย 4.0 . (หน้า 341-350). จังหวัดสุรินทร์: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์.
  • รัตติยา วิชุมา, วรพรภัฏ ปัดภัย และเบญญาภา สุรสอน. (2560). การเลี้ยงปลานิลแปลงเพศในกระชังโดยเพิ่มผลผลิตจากพืชท้องถิ่น. การประชุมวิชาการระดับชาติ นวัตกรรมและเทคโนโลยีวิชาการ 2017 . “วิจัยจากองค์ความรู้สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน” . (หน้า 732-739). จังหวัดสุรินทร์: มหาวิทยาลัยราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ .
    ยุวดี จันทร์สอน, วรพรภัฏ ปัดภัย และกฤตกนก พาบุ. (2560). การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำจากปลานิล. การประชุมวิชาการระดับชาติ นวัตกรรมและเทคโนโลยีวิชาการ 2017. “วิจัยจากองค์ความรู้สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน” . (หน้า 740-749). จังหวัดสุรินทร์: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์.
  • ชาตรี จันทวี, เบญญาภา สุรสอน และวรพรภัฏ ปัดภัย. (2560). ผลของดินร่วมกับมูลสัตว์ต่อการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายของกุ้งก้ามแดง. การประชุมวิชาการระดับชาติ นวัตกรรมและเทคโนโลยีวิชาการ ครั้งที่ 8. “วิจัยจากองค์ความรู้สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน” 2017. (หน้า 775-778). จังหวัดสุรินทร์: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์.
  • พิชญา บุญญัติ และวรพรภัฏ ปัดภัย. (2561). การใช้ใบมันสำปะหลังเป็นส่วนผสมในอาหารเลี้ยงปลาเปคูแดงในกระชัง. การประชุมวิชาการระดับชาติ ราชมงคลสุรินทร์ ครั้งที่ 9 . “การเชื่อมโยงเครือข่ายวิชาการด้วยงานวิจัย” 2018. (หน้า 1120-1134). จังหวัดสุรินทร์: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์.
  • วรพรภัฏ ปัดภัย. (2562). การเพิ่มประสิทธิภาพผลผลิตโดยเสริมน้ำมันตับปลาในระดับต่างกัน สำหรับเลี้ยงกบนาในบ่อซีเมนต์. การประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ครั้งที่ 3. RERU ICET III : Innovative Local Development. (หน้า 104-110). มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด: มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด.
  • วรพรภัฏ ปัดภัย. (2562). การใช้แหนแดงเป็นส่วนผสมในอาหารสำหรับเลี้ยงกบนาในกล่องพลาสติก. การประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชมงคลสุรินทร์ ครั้งที่ 10”. “วิจัยและนวัตกรรม นำสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน” . (หน้า F228-238). สุรินทร์: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์.
  • วรพรภัฏ ปัดภัย และ ธนาธิป แสนสำราญ. (2563). การใช้ประโยชน์จากมันสำปะหลังเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพผลผลิตสำหรับการเลี้ยงปลาดุกยักษ์ในบ่อซีเมนต์. “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อชุมชน”. งานประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ครั้งที่ 2 . (หน้า 574-584). มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย จังหวัดเลย: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

[/td_block_text_with_title][td_block_text_with_title custom_title=”งานวิจัยที่สนใจ”]- การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
– เทคโนโลยีการเกษตร[/td_block_text_with_title][/vc_column][/vc_row]